อนุทินครั้งที่ 10 การเรียนการสอนวันที่ 20 มีนาคม 2561 (08.30-11.30)
เรียนเรื่อง แนวทางการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมอาจแบ่งเป็น 2 ประเภท
เรียนเรื่อง แนวทางการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมอาจแบ่งเป็น 2 ประเภท
1. สิ่งแวดล้อมภายในตัวบุคคล (implicit environment) ได้แก่การทำงานของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
เช่น ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย ระบบต่อมไร้ท่อ
เป็นต้น
2. สิ่งแวดล้อมภายนอก (explicit environment) ได้แก่ สิ่งแวดล้อมที่อยู่ภายนอกกายของมนุษย์
เช่น วัตถุสิ่งของ คน พืช
สัตว์ กิจกรรมต่าง
ๆ ที่เกิดจากคนและสัตว์ รวมไปถึงสิ่งที่เป็นนามธรรม (abstract) ได้แก่ ศีลธรรมจรรยา ขนบธรรมเนียมประเพณีในสังคมด้วย
ปัจจัยของสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็กปฐมวัยมีดังนี้
1.
ประสบการณ์ที่เด็กได้รับจากการตอบสนองความต้องการพื้นฐาน
2.
ประสบการณ์ที่ได้จากการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว
3.
ประสบการณ์ที่เด็กได้รับจากสัมพันธภาพทางสังคม
4.
ประสบการณ์ที่ได้รับความสะเทือนใจมาตั้งแต่วัยเด็ก
สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็กโดยพฤติกรรม
บางอย่างจะถูกกระตุ้นให้เร็วขึ้น
โดยสิ่งแวดล้อมหรืออาจจะช้าลงถ้าเด็กไม่ได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
ดังนั้นสิ่งแวดล้อมจึงมีอิทธิพลต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ซึ่งจัดเป็น 3
กลุ่ม ดังนี้
1.
สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมพัฒนาการทางกาย
2.
สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมพัฒนาการทางอารมณ์และสังคม
3.
สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญา
บรรยากาศในห้องเรียน
ประเมินอาจารย์ : พูดเสียงดังฟังชัดตั้งใจในการสอน
ประเมินเพื่อน : ตั้งใจฟังอาจารย์สอนดีอาจจะมีเล่นบ้าง
ประเมินตัวเอง :เล่นบ้างฟังบ้างไม่ค่อยเต็มที่เท่าที่ควรไม่ค่อยมีสมาธิ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น